พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เข้าสู่ระบบ
หน้าแรก
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ค้นหาข้อมูล
เข้าสู่ระบบ
เหรียญสตางค์สิบ...
เหรียญสตางค์สิบ หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว สวยเดิม
เหรียญสตางค์สิบ หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว ปี พ.ศ.2513 เนื้อทองแดงกะหลั่ยทอง
ข้อมูลการสร้าง
- เหรียญกลม ขนาดเท่าเหรียญสลึง(สมัยเก่า)
- ด้านหลังจะมีรอยจาร เฑาะว์มหาพรหม หรือ เฑาะว์มหาอุด บางทีก็มีตัว อัง กำกับ
จำนวนการสร้าง
- กะไหล่ทอง 1000 เหรียญ
ประวัติหลวงปู่เพิ่ม ปุณณวสโน วัดกลางบางแก้ว
พระพุทธวิถีนายก (หลวงปู่เพิ่ม ปุณณวสโน) นามเดิมว่า "เพิ่ม" ท่านเกิดเมื่อวันที่ 28 มกราคม พ.ศ.2429 ที่ตำบลไทยวาส อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โยมบิดาชื่อ เกิด โยมมารดาชื่อ วรรณ ท่านบรรพชาเป็นสามเณรเมื่ออายุได้ 8 ขวบ สืบต่อมาจนอายุครบบวช จึงได้อุปสมบทในวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ.2450 ณ พัทธสีมาวัดกลางบางแก้ว โดยมีสมเด็จพระสังฆราชแพ ครั้งยังดำรงสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระวันรัต วัดสุทัศน์ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอธิการจอม เจ้าอาวาสวัดตุ๊กตา เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูทักษิณานุกิจ วัดสรรเพชญ์ เป็นพระอนุสาวนาจารย์
เมื่อท่านอุปสมบทแล้วก็ได้เล่าเรียนพระธรรมวินัยอยู่ที่วัดกลางบางแก้วตลอดมาและถือได้ว่า หลวงปู่เพิ่ม ท่านเป็นศิษย์ที่ใกล้ชิดหลวงปู่บุญมากที่สุด เพราะท่านบวชเป็นสามเณรตั้งแต่อายุ 8 ขวบ ก็อยู่ปฏิบัติรับใช้หลวงปู่บุญมาตลอดจนกระทั่งหลวงปู่บุญมรณภาพ เป็นเวลาถึง 39 ปี ตลอดเวลานั้นท่านได้รับการถ่ายทอดวิชาความรู้ทั้งทางด้านคันถธุระและวิปัสสนาธุระ ตลอดจนเวทวิทยาคมต่างๆ ไว้มากมาย หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว ท่านเป็นพระสงฆ์ที่บริสุทธิ์ผุดผ่องด้วยศีล สมาธิและปัญญาธรรม เปลี่ยมล้นไปด้วยเมตตาธรรม หมดสิ้นกิเลสทั้งปวง หลวงปู่เพิ่ม ท่านเป็นพระที่พูดจาไพเราะอ่อนหวาน สำเนียงของท่านนั้นมีแววความเมตตาผสานเอาไว้ใครได้ฟังแล้วจะรู้สึกชุ่มชื่นใจ ใครๆ ได้สนทนากับท่านแล้วจะรู้สึกเคารพศรัทธาท่านทุกคนไป
หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว
หลวงปู่เพิ่ม ท่านได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาส วัดกลางบางแก้วเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2481 ปีพ.ศ.2482 ได้รับแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์ ปีพ.ศ.2483 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะอำเภอนครชัยศรี ปีพ.ศ. 2489 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ที่พระครูพุทธวิถีนายก ปีพ.ศ.2495 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครูชั้นเอกในราชทินนามเดิม ปีพ.ศ. 2503 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญมีราชทินนามว่า พระพุทธวิถีนายก หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้วท่านมรณภาพ ด้วยโรคชราด้วยอาการสงบ เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ.2526 สิริอายุได้ 97 ปี พรรษาที่ 76
จุดสังเกตด้านหน้า
1 ม มีเส้นแตก 3 เส้น
2 ปลาย ง มีเส้นแตกยื่นลงมา
3 ปลาย ว มีเส้น แฉก คู่
4 คอมีเส้นคมๆยื่นออกมา
จุดสังเกตด้านหลัง
1 หลังเรียบ มีจาร
จุดสังเกตด้านข้าง ปั้ม
ราคากลางเนื้อทองแดงกะหลั่ยทอง หลักหมื่นปลายถึงแสนต้น
ผู้เข้าชม
2164 ครั้ง
ราคา
-
สถานะ
ขายแล้ว
โดย
Pongpasin
ชื่อร้าน
เม่น นางรอง
ร้านค้า
men-nangrong.99wat.com
โทรศัพท์
0854884486
ไอดีไลน์
Mumumen
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารไทยพาณิชย์ / 405-3-30295-0
ตะกรุดโทน พ่อเฒ่ายิ้ม วัดหนองบ
พระผงรุ่นแรก หลวงปู่สุข วัดโพธ
หน้าบากเนื้อทองเหลือง หลวงปู่ส
มีดหมอหลวงพ่อกัน วัดเขาแก้ว ช่
กระดาษยันต์หลวงปู่สุข วัดโพธิ์
พระบูชารุ่นแรกหลวงพ่อผาด วัดบ้
เหรียญรุ่นสุดท้ายหลวงปู่ขาว วั
พระผงเล็บมือหลวงปู่สุข ออกวัดป
รูปถ่ายหลวงปู่เม้า วัดสี่เหลี่
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
ลงพระฟรี
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ลืมรหัสผ่าน
ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
บี บุรีรัมย์
กรัญระยอง
kuakran
ยอด วัดโพธิ์
นรินทร์ ทัพไทย
ep8600
โกหมู
เทพจิระ
โจ้ ลำนารายณ์
kumpha
sirikorn
swat
กู่ทอง
Aoottoo99
stp253
ผดุงศักดิ์
somphop
Johnny amulet
ภูมิ IR
NongBoss
ตั้มบารมี
ปลั๊ก ปทุมธานี
Putanarinton
tplas
เจริญสุข
พรคุณพระ99
someman
fuchoo18
hra7215
ว.ศิลป์สยาม
ผู้เข้าชมขณะนี้ 1416 คน
เพิ่มข้อมูล
เหรียญสตางค์สิบ หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว สวยเดิม
ส่งข้อความ
ชื่อพระเครื่อง
เหรียญสตางค์สิบ หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว สวยเดิม
รายละเอียด
เหรียญสตางค์สิบ หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว ปี พ.ศ.2513 เนื้อทองแดงกะหลั่ยทอง
ข้อมูลการสร้าง
- เหรียญกลม ขนาดเท่าเหรียญสลึง(สมัยเก่า)
- ด้านหลังจะมีรอยจาร เฑาะว์มหาพรหม หรือ เฑาะว์มหาอุด บางทีก็มีตัว อัง กำกับ
จำนวนการสร้าง
- กะไหล่ทอง 1000 เหรียญ
ประวัติหลวงปู่เพิ่ม ปุณณวสโน วัดกลางบางแก้ว
พระพุทธวิถีนายก (หลวงปู่เพิ่ม ปุณณวสโน) นามเดิมว่า "เพิ่ม" ท่านเกิดเมื่อวันที่ 28 มกราคม พ.ศ.2429 ที่ตำบลไทยวาส อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โยมบิดาชื่อ เกิด โยมมารดาชื่อ วรรณ ท่านบรรพชาเป็นสามเณรเมื่ออายุได้ 8 ขวบ สืบต่อมาจนอายุครบบวช จึงได้อุปสมบทในวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ.2450 ณ พัทธสีมาวัดกลางบางแก้ว โดยมีสมเด็จพระสังฆราชแพ ครั้งยังดำรงสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระวันรัต วัดสุทัศน์ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอธิการจอม เจ้าอาวาสวัดตุ๊กตา เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูทักษิณานุกิจ วัดสรรเพชญ์ เป็นพระอนุสาวนาจารย์
เมื่อท่านอุปสมบทแล้วก็ได้เล่าเรียนพระธรรมวินัยอยู่ที่วัดกลางบางแก้วตลอดมาและถือได้ว่า หลวงปู่เพิ่ม ท่านเป็นศิษย์ที่ใกล้ชิดหลวงปู่บุญมากที่สุด เพราะท่านบวชเป็นสามเณรตั้งแต่อายุ 8 ขวบ ก็อยู่ปฏิบัติรับใช้หลวงปู่บุญมาตลอดจนกระทั่งหลวงปู่บุญมรณภาพ เป็นเวลาถึง 39 ปี ตลอดเวลานั้นท่านได้รับการถ่ายทอดวิชาความรู้ทั้งทางด้านคันถธุระและวิปัสสนาธุระ ตลอดจนเวทวิทยาคมต่างๆ ไว้มากมาย หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว ท่านเป็นพระสงฆ์ที่บริสุทธิ์ผุดผ่องด้วยศีล สมาธิและปัญญาธรรม เปลี่ยมล้นไปด้วยเมตตาธรรม หมดสิ้นกิเลสทั้งปวง หลวงปู่เพิ่ม ท่านเป็นพระที่พูดจาไพเราะอ่อนหวาน สำเนียงของท่านนั้นมีแววความเมตตาผสานเอาไว้ใครได้ฟังแล้วจะรู้สึกชุ่มชื่นใจ ใครๆ ได้สนทนากับท่านแล้วจะรู้สึกเคารพศรัทธาท่านทุกคนไป
หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว
หลวงปู่เพิ่ม ท่านได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาส วัดกลางบางแก้วเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2481 ปีพ.ศ.2482 ได้รับแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์ ปีพ.ศ.2483 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะอำเภอนครชัยศรี ปีพ.ศ. 2489 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ที่พระครูพุทธวิถีนายก ปีพ.ศ.2495 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครูชั้นเอกในราชทินนามเดิม ปีพ.ศ. 2503 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญมีราชทินนามว่า พระพุทธวิถีนายก หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้วท่านมรณภาพ ด้วยโรคชราด้วยอาการสงบ เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ.2526 สิริอายุได้ 97 ปี พรรษาที่ 76
จุดสังเกตด้านหน้า
1 ม มีเส้นแตก 3 เส้น
2 ปลาย ง มีเส้นแตกยื่นลงมา
3 ปลาย ว มีเส้น แฉก คู่
4 คอมีเส้นคมๆยื่นออกมา
จุดสังเกตด้านหลัง
1 หลังเรียบ มีจาร
จุดสังเกตด้านข้าง ปั้ม
ราคากลางเนื้อทองแดงกะหลั่ยทอง หลักหมื่นปลายถึงแสนต้น
ราคาปัจจุบัน
-
จำนวนผู้เข้าชม
2165 ครั้ง
สถานะ
ขายแล้ว
โดย
Pongpasin
ชื่อร้าน
เม่น นางรอง
URL
http://www.men-nangrong.99wat.com
เบอร์โทรศัพท์
0854884486
ID LINE
Mumumen
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารไทยพาณิชย์ / 405-3-30295-0
กำลังโหลดข้อมูล
หน้าแรกลงพระฟรี